TRAN RES TERM

1. รหัสวิชา 2241623

2. จำนวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต

3. ชื่อวิชา ทรัพยากรการแปลและการทำประมวลศัพท์

4. คณะ/ภาควิชาอักษรศาสตร์/ ศูนย์การแปลและการล่ามฯ

5. ภาคการศึกษา ปลาย

6. ปีการศึกษา 2561

7. ชื่อผู้สอน  รศ.ปรีมา มัลลิกะมาส, รศ.ดร.วิโรจน์ อรุณมานะกุล, ผศ.ดร.รักสงบ วิจิตรโสภณ, อ.สมจิต จิระนันทิพร, ดร.ทรงพันธ์ เจิมประยงค์

8. เงื่อนไขรายวิชาไม่มี

9. สถานภาพของวิชา วิชาเลือก

10. ชื่อหลักสูตรการแปลและการล่าม

11. วิชาระดับปริญญาโท

12. จำนวนชั่วโมงที่สอน/สัปดาห์ 3 ชั่วโมง (อาทิตย์ 9.00-12.00 น.)

13. เนื้อหาวิชา

ปริทัศน์ทรัพยากรประเภทต่าง ๆ ที่จำเป็นสำหรับนักแปล   แหล่งทรัพยากร  การใช้คลังข้อมูลภาษาในการทำวิจัยด้านการแปล   มโนทัศน์และระเบียบวิธีในการทำประมวลศัพท์  การฝึกสร้างประมวลศัพท์จากคลังข้อมูลเฉพาะด้าน

14. ประมวลการเรียนรายวิชา

14.1 วัตถุประสงค์   นิสิตสามารถ

อธิบายประเภทของทรัพยากรสารนิเทศประเภทต่างๆที่ใช้เพื่อการแปล

รู้จักแหล่งทรัพยากรสารนิเทศเพื่อการแปล

เข้าถึงทรัพยากรสารนิเทศโดยใช้เครื่องมือช่วยค้นประเภทต่างๆ

สืบค้นสารนิเทศจากฐานข้อมูลเพื่อการค้นคว้าอ้างอิง  และสารนิเทศบนอินเทอร์เน็ต

อธิบายถึงความสำคัญของคลังข้อมูลภาษาต่อการแปล

อธิบายถึงกระบวนการทำศัพท์เฉพาะทาง

จัดสร้างคลังข้อมูลทางภาษาเพื่อประโยชน์ด้านการแปลและการทำศัพท์เฉพาะทาง

ใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อช่วยในการวิเคราะห์คลังข้อมูลภาษาและการจัดทำศัพท์เฉพาะทาง

14.2 เนื้อหารายวิชาต่อสัปดาห์

Sun. Remark

6 Jan 19 คลังข้อมูลภาษากับการแปล : ความรู้เบื้องต้นเรื่องคลังข้อมูลภาษา การใช้คลังฃ้อมูลภาษาศึกษาการแปล   คลังข้อมูลการแปล (ปรีมา)

13 Jan 19 การสร้างคลังข้อมูลภาษา : การหาแหล่งข้อมูลภาษา,  การแปลงข้อมูล, การคัดลอกข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต Httrack,  Octoparse  , webscrap  [Comp Lab] (วิโรจน์) [pdf]

20 Jan 19 การใช้โปรแกรม AntConc,  TagAnt, voyant-tools, CQPWeb, corpus.byu, TNC [Comp Lab] (วิโรจน์) [pdf]

27 Jan 19 ประเภทและแหล่งของทรัพยากรเพื่อการแปล  เทคนิคการสืบค้น [Comp Lab] (ทรงพันธ์)

3 Feb 19 เทคนิคการจัดการทรัพยากรสารสนเทศ [Comp Lab] (ทรงพันธ์)

10 Feb 19 Introduction to localization [Comp Lab] (ตะวัน)

17 Feb 19 ประโยชน์ของคลังข้อมูลภาษาต่อการแปลและการสอนการแปล การใช้คลังข้อมูลภาษากับการแปล [Comp Lab] (ปรีมา)

24 Feb 19 ฝึกแปลโดยใช้คลังข้อมูลภาษาเป็นทรัพยากรการแปล  [Comp Lab] (ปรีมา)

3 Mar 19 โปรแกรม Translation memory  [Comp Lab] (วิโรจน์)  [pdf]  [data]

10 Mar 19 โปรแกรม Translation memory  [Comp Lab] (วิโรจน์)  [sample-tm-gloss]  [task2]

17 Mar 19 ความรู้เบื้องต้นการทำประมวลศัพท์ (ปรีมา)

24 Mar 19 การหา term, ทำ extraction record (ปรีมา)

31 Mar 19 การวิเคราะห์ conceptual structure (ปรีมา)

7 Apr 19 วันสงกรานต์

14 Apr 19 วันสงกรานต์

21 Apr 19 การเขียนนิยามและการทำ terminological record (ปรีมา)

28 Apr 19 ประโยชน์ของคลังข้อมูลภาษาต่อ Translation Quality Management (รักสงบ, สมจิต)


14.3  วิธีจัดการเรียนการสอน

บรรยายเชิงอภิปราย, ปฎิบัติ

14.4 สื่อการสอน

ตำราและเอกสาร   แผ่นใส

สาธิตผ่านทางคอมพิวเตอร์ วีดิทัศน์

เครือข่ายอินเทอร์เน็ต

 โปรแกรม Httrack (http://www.httrack.com)

 โปรแกรม ParseHub (https://www.parsehub.com/)

  โปรแกรม Octoparse (https://www.octoparse.com/)

 โปรแกรม AntConc (http://www.antlab.sci.waseda.ac.jp/antconc_index.html)

    AntConc setting for using Thai texts (utf8)

CQPWeb at Lancaster (https://cqpweb.lancs.ac.uk)

Corpus BYU  (https://corpus.byu.edu/)

Text analysis online: https://voyant-tools.org/

Thai Concordance (http://www..arts.chula.ac.th/~ling/ThaiConc/)

 MAT - Multidimensional Analysis Tagger (https://sites.google.com/site/multidimensionaltagger/versions)

WordFast anywhere (www.freetm.com)  [pdf] [task1]

โปรแกรม WordFast (http://www.wordfast.net/)   คู่มือฉบับย่อ (pdf ) ข้อมูลแปล (data.zip)

           ตัวอย่างคลังข้อมูล Econ  Stock   IP

          ตัวอย่าง paper ส่งงาน  corpus  [ตย1] [ตย2]

14.5 การวัดผลการเรียน  

การค้นหาทรัพยากรสารนิเทศ15%

การรวบรวมคลังข้อมูลภาษาในเนื้อหาที่กำหนด20%

การแปลเอกสารโดยใช้คลังข้อมูลภาษา10%

การแปลเอกสารโดยใช้โปรแกรม TM 10%

การทำประมวลศัพท์จากคลังข้อมูลภาษา30%

รายงานเรื่องเกี่ยวกับการแปลและเทคโนโลยี15%

        เกณฑ์การตัดเกรด:

A = 86-100%   B+ = 71-85%  B=61-70%  C+=51-60% C=41-50% D+ = 31-40% D = 21-30%  F= 0-19% 

การส่งงานทาง email  นิสิตจะได้รับ email ยืนยันตอบกลับว่าได้รับรายงานและข้อมูลเป็นที่เรียบร้อย   หากนิสิตไม่ได้รับ email ตอบกลับภายใน 3 วันให้รีบติดต่อผู้สอนหรือส่งข้อมูลใหม่อีกครั้ง  เพราะข้อมูลที่ส่งอาจสูญหายระหว่างทาง

ถือเป็นความรับผิดชอบของนิสิตในการส่งและตรวจสอบการยืนยันกลับ   นิสิตไม่อาจเรียกร้องคะแนนใดใดหากข้อมูลสูญหายระหว่างการส่ง

***  การลักลอกงานวิชาการ (plagiarism) ถือเป็นความผิดร้ายแรงทางวิชาการ  หากพบว่ามีการลักลอกงานวิชาการในงานที่ต้องนำส่งในรายวิชานี้  นิสิตจะถูกปรับตกเป็น  F ในวิชานี้ทันที ***

15. รายชื่อหนังสืออ่านประกอบ

Reading list

วิโรจน์  อรุณมานะกุล  2553.  ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล: หลักการและการใช้ พิมพ์ครั้งที่ 2 คณะอักษรศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (pdf)

Corpus & translation

Baker, Mona. 1993. Corpus Linguistics and translation Studies: Implications and Applications. In Text and Technology in honor of John Sinclair ed. by Mona Baker, Gill Francis and Elena Tognini Bonelli

Schmied, Josef and Schaffler, Hldegard. 1996. Approaching translationese through parallel and translation. In Synchronic corpus linguistics Papers from the sixteenth International Conference on English Language Research on Computerized Corpora, Toronto 1995. Amsterdam: Rodopi.

Pearson, Jennifer. 1998. Terms in Context. Amsterdam/Philadelphia: John Benjamins Publishing Co. [Chap. 2]

Maria Tymoczko. Computerized Corpora And The Future Of Translation Studies. Meta, XLIII, 4, 1998. 

ประโยชน์ของ corpora ในการแปล

Ingrid & Michael Friedbichler 1997.  The Potential of Domain-Specific Target-Language Corpora For The Translator’s Workbench.  In Corpus use and learning to translate (CULT) Proceedings, Bertinoro, 14-14 November 1997.

Krista Varantola. Translators, dictionaries and text corpora. In Corpus use and learning to translate (CULT) Proceedings. Bertinoro, 14-15 November 1997.

Lynne Bowker. Using Specialized Monolingual Native-Language Corpora As A Translation Resource: A Pilot Study. Meta, XLIII, 4, 1998. 

การใช้ corpora ในการสอนแปล

Federico Zanettin. Bilingual Comparable Corpora And The Training Of Translators. Meta, XLIII, 4, 1998. 

Laura Gavioli and Federico Zanettin: Comparable corpora and translation: a pedagogic perspective. In Corpus Use and Learning to Translate: the Papers. Bertinoro, 14-15 November 1997.  

Silvia Bernardini: A 'trainee' translator's perspective on corpora.  In Corpus Use and Learning to Translate: the Papers. Bertinoro, 14-15 November 1997. 

Tools for translators

Opening Up New Horizons With Corpus-Driven Translation Moving Beyond Words: On the Use of Text Corpora and Concordancing in Translation (http://info.uibk.ac.at/c/c6/c613/friecorp.html)

The Translator and the Current Services of the Internet. Proseminar paper by Anukaisa Alanen (http://www.uta.fi/~tranuk/prosemc.htm)

Machine Translation

•  A history of machine translation from the Cold War to deep learning (https://medium.freecodecamp.org/a-history-of-machine-translation-from-the-cold-war-to-deep-learning-f1d335ce8b5)

Terminology

Cabré, M. Teresa. 1998. Terminology: Theory, Methods, and Applications. Amsterdam/Philadelphia: John Benjamins Publishing Co. [Chap 1,2,3,4,6,7]

Sagar, Juan C. 1990. A Practical Course in Terminology Processing. Amsterdam/Philadelphia: John Benjamins Publishing Co. [Chap 2,3,5,6]

Wright, Sue Ellen, and Budin, Gerald. 1997. Handbook of Terminolgy Management Vol 1: Basic Aspects of Terminology Management. Amsterdam/Philadelphia: John Benjamins Publishing Co. [Chap 1,2]

Pearson, Jennifer. 1998. Terms in Context. Amsterdam/Philadelphia: John Benjamins Publishing Co. [Chap 1,3,4,5,6]

Rey, Alain. 1995. Essays on Terminology. Amsterdam/Philadelphia: John Benjamins Publishing Co. [Chap 1,2,4]

Somers, Harold. 1996. Terminology, LSP and Translation. Amsterdam/Philadelphia: John Benjamins Publishing Co. [Part1.1]

Antia, Bassey Edem. 2000. Terminology and Language Planning. Amsterdam/Philadelphia: John Benjamins Publishing Co. [Chap 4,5]


 Additional Readings

Kennedy, Graeme. 1998. In An Introduction to Corpus Linguistics. London: Longman.

Barlow, Michael. 1995. ParaConc: A Concordancer & Texts, v.10, Dec 1995.  (http://www.ruf.rice.edu/~barlow/para-ox.html)

A gentle introduction to SGML (http://www-tei.uic.edu/orgs/tei/sgml/teip3sg/index.html)

TEI Lite: An Introduction to Text Encoding for Interchange (http://www-tei.uic.edu/orgs/tei/intros/teiu5.html)

Carol Peters and Eugenio Picchi. Bilingual Reference Corpora for translators and translation studies.

Itamar Even-Zohar. Polysystem Theory. A revised version of "Polysystem Theory," in Polysystem Studies [ Poetics Today, 11:1] 1990, pp. 9-26. First version was published in Poetics Today 1979 I, 1-2:287-310.

Toury, Gideon 1995. "The Nature and Role of Norms in Translation". In idem, Descriptive Translation Studies and Beyond. Amsterdam-Philadelphia: John Benjamins, 1995, 53-69.

Anthony Pym. Translation and Text Transfer An Essay on the Principles of Intercultural Communication First published: Frankfurt am Main, Berlin, Bern, New York, Paris, Wien: Peter Lang, 1992. 

Sara Laviosa. The Corpus-Based Approach: A New Paradigm In Translation Studies. Meta, XLIII, 4, 1998.

Miriam Shlesinger. Corpus-Based Interpreting Studies As An Offshoot Of Corpus-Based Translation Studies. Meta, XLIII, 4, 1998. 

Sandra Halverson. Translation Studies And Representative Corpora: Establishing Links Between  Translation Corpora, Theoretical/Descriptive Categories And A Conception Of The Object Of Study. Meta, XLIII, 4, 1998. 

Kirsten Malmkjær. Love Thy Neighbour: Will Parallel Corpora Endear Linguists To Translators? Meta, XLIII, 4, 1998. 

Jarle Ebeling. Contrastive Linguistics, Translation, And Parallel Corpora. Meta, XLIII, 4, 1998. 


Resources

Alpha Online Dictionaries (http://www.alphadictionary.com/index.shtml)

Online Dictionaries, Glossaries and Encyclopedias - 101 (http://stommel.tamu.edu/~baum/hyperref.html)

TRANSST: International Newsletter for Translation Studies (http://www.tau.ac.il/~toury/transst/) 

The Translator's Home Companion (http://www.rahul.net/lai/companion.html)

Terminology on the Web (http://www.surrey.ac.uk/lcts/terminology/)

Translation-relevant software (http://www.fask.uni-mainz.de/ze/term/cat-pas.html)

Translator Resource Links This is a new resource for professional translators, interpreters and proofreaders. (http://www.ranchopark.com/translatorlinks.html)



การติดต่อผู้สอน

รศ. ปรีมา มัลลิกะมาส

โทรศัพท์ 02-218-4715ตึกบรมราชกุมารี ชั้น 11 ห้อง 1117

email: mprima@chula.ac.th

รศ.ดร.วิโรจน์ อรุณมานะกุล

โทรศัพท์ 02-218-4696ตึกบรมราชกุมารี ชั้น 12 ห้อง 1231

โทรสาร 218-4695

email: awirote@chula.ac.th http://pioneer.chula.ac.th/~awirote/

ดร.ทรงพันธ์ เจิมประยงค์

โทรศัพท์ 02-218-4814ตึกบรมราชกุมารี ชั้น 8 ห้อง 8xx

email: songphan.c@chula.ac.th www.thaibrarian.org/songphan


© Wirote 2012