ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

BUILDING MATERIAL & CONSTRUCTION V

๑.    รหัสวิชา                   ๒๕๐๑๔๓๕
๒.    จำนวนหน่วยกิต           ๒    หน่วยกิต
๓.    ชื่อวิชา (Course Title)    BUILDING MATERIAL & CONSTRUCTION V
๔.    คณะ/ภาควิชา              ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
๕.    ภาคการศึกษา              ประจำภาคต้น
๖.    ปีการศึกษา
๗.    ชื่อผู้สอน    ๑.รองศาสตราจารย์ ดร. ชวลิต นิตยะ
   .................๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ยงยุทธ ณ นคร
   .................๓. อาจารย์ ปิยะนุช เตาว์ลานนท์
๘.    เงื่อนไขรายวิชา
        ๘.๑    วิชาที่ต้องเรียนก่อน    ๒๕๐๑๓๓๕ (BUILDING MATERIAL & CONSTRUCTION IV)
        ๘.๒    วิชาบังคับร่วม
        ๘.๔    วิชาควบ
๙.    สถานภาพของวิชา            (วิชาบังคับ)
๑๐.  ชื่อหลักสูตร                   หลักสูตรปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต
๑๑.  วิชาระดับ                     ปริญญาตรี
๑๒.  จำนวนชั่วโมงสอน/สัปดาห์    ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์

๑๓.  วัตถุประสงค์และเนื้อหาวิชา
        นิสิตชั้นปีที่ ๔ จะได้ศึกษา และทำความเข้าใจในเรื่องวัสดุและการก่อสร้างทั่วไป เพื่อการออกแบบสำหรับ อาคารสูงและอาคารที่มีช่วงกว้าง ในประเภทต่างๆ โดยเน้นความเข้าใจ ในหลักการออกแบบ เทคนิค และปัญหาของโครงสร้างชนิดต่างๆที่เกี่ยวข้องเป็นสำคัญ ครอบคลุมโครงสร้างทุกส่วนของอาคาร คือ ส่วนล่าง (Sub-Structure) ส่วนกลาง/บน (Surface&Floor Structure) และส่วนหลังคา (Roof Structure)

๑๔.  ประมวลการเรียนรายวิชา
        ๑๔.๑    วัตถุประสงค์ทั่วไปและ/หรือวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
                    เป็นการนำความรู้ ความเข้าใจไปใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการออกแบบอาคารสูง หรืออาคารช่วงกว้าง ให้เหมาะสมมากขึ้น มีผลสะท้อนโดยตรงสำหรับ การออกแบบรูปทรง และที่ว่างภายในของอาคาร อย่างมีเหตุผล และถูกต้อง ต่อหลักการของโครงสร้างชนิดต่างๆยิ่งขึ้น อีกทั้งความรู้และความเข้าใจ ที่ได้รับจากการบรรยายในชั้นเรียน และการค้นคว้าเฉพาะเรื่อง ที่นิสิตสนใจ จะนำไปใช้การเรียนปฏิบัติการออกแบบ สถาปัตยกรรมโครงสร้างแต่ละชนิดโดยตรง ในภาคการศึกษาต่อไป

        ๑๔.๒    เนื้อหาวิชา/ ๑๘ สัปดาห์
                    -Underground Structure
                    -Special Pile & Retaining Wall
                    -Diaphram for Walls
                    -Water Protection
                    -Framing Structure for High-Rise Building
                    -Vertical Structure & Shear Wall
                    -Shear Core, Structural Facade
                    -Horizontal Structure & Other
                    -Narrow Grid and Wide Grid Structure
                    -V Shape-Structure & Hinge VS. Supports
                    - Three-Dimension Support
                    -Special Case & Industrialized Building
                    -สอบวัดผลการเรียน/รายงานการค้นคว้า กลางภาคการศึกษา
                    -Problem, Control and Prevention of Dampness Building
                    -Wide Span Structures
                        Structural Forces
                        Solid Slab/Flat Plate System
                        Portal or Rigid Frame Structure
                        Folded Plate Roof
                        Shell Roof Structure
                        Lattice/Grid Roof Structure
                        Tensile/Suspended Cable Structure
                        Composite/Pneumatic Structure
                    -สอบวัดผลการเรียน/รายงานการค้นคว้า ปลายภาคการศึกษา

        ๑๔.๓    วิธีจัดการเรียนการสอน
                    ๑. กิจกรรมของผู้สอน เป็นการบรรยาย และอภิปราย ประกอบ เอกสาร ภาพนิ่ง หรือเคลื่อนไหว และทดสอบความเข้าใจ (quiz)
                    ในห้องบรรยาย รายงานการประเมินวัดผลสุดท้ายการเรียนของนิสิตทุกคน

                    ๒. กิจกรรมร่วมระหว่างผู้สอนและผู้เรียน (หากมีการเห็นพ้องกัน) คือการสัมมนา จากผลการเรียนรู้ โดยการค้นคว้าก่อน (pilot
                    study) เพื่อทำรายงาน โดยการเชิญวิทยากร บรรยายพิเศษเฉพาะเรื่อง หรือจากการศึกษาดูงานนอกสถานที่ โดยกลุ่มนิสิตเอง

                    ๓. กิจกรรมของผู้เรียน ต้องมีความเอาใจใส่ในการเรียน ต้องร่วมการทดสอบ/สอบกลาง/ปลายภาค ทุกครั้ง และการเสนอรายงานการ
                    ค้นคว้าในวันสุดท้ายการเรียน

        ๑๔.๔     สื่อการสอน     ประกอบด้วย แผ่นใส กำหนดหัวข้อการบรรยาย สไลด์ภาพสี วิดิโอทัศน์ และคอมพิวเตอร์กราพฟิค

        ๑๔.๕    การวัดผลการเรียน
                    ๑.    คะแนนสอบ กลาง/ปลาย ของภาคการศึกษา    คิดเป็น ๖๐% ของคะแนนรวม
                    ๒.    คะแนนรายงานการค้นคว้า                    คิดเป็น ๔๐% ของคะแนนรวม

๑๕.  รายชื่อหนังสืออ่านประกอบ (มีอยู่และจองไว้ในห้องสมุดคณะฯ)
        รศ. ดร. ชวลิต นิตยะ : เอกสารประกอบการสอน วิชา 2501535 BLDG MAT / CONS VI (Vol. I-II) ,
        คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ , จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

        -Wide-Span Structure
        1.    Schuller, W. The Design of Building Structure (624.177/s 385 d)
        2.    Norman, B. & P. Eggen The Structure Basis of Architecture, 1992 (721/s 213 s)
        3.    Salvadori, M. & R. Heller The Structure in Architecture, 1975 (721/s 182 s)
        4.    Makowski, Z.S. Steel Space Structures, 1965 (721/ m 235 s)
        5.    Light Structure : The Art and Engineering of Tensile Architecture (720.4/b 496 l)
        6.    Structure, Space and Skin (721/s 927)
        7.    Form and Structure in Architecture (721/232 f)
        8.    Exposed Structure in Building Design (720.47/e 96)
        9.    Frie Otto: Tensile Structure (721/f 744 f)
        10.  Air Structures (721.5/p 945 a)
        11.  The Work of Frie Otto (721/c 541 w)
        12.  New Structures (721/a 673 n)
        13.  Ove Arup & Partners: Engineering the Built Environment (720/s 697 q)
        14.  Why Buildings Stand Up (624.17/s 182 w)
        15.  วิดีโอเทป VSH#VC195 (Form in Tension) and #VC199 (Long Span Structure)
        16. InterestingWebsites:
                            http://www.arch.su.edu.au/kcdc/caut/index.htm
                            http://www.eerc.berkeley.edu/godden/godden.html
                            http://www.arch.cuhk.edu.hk/?
                            http://home.bre.polyu.edu.hk/~bs609261/roof6.htm
                            http://oak.arch.utas.edu.au/projects/retro/longspan/longspan.html

        -Problem, Control and Prevention of Damness Building
        1.    Cowan, Henry J. and Perter R. Smith, The Science and Technology of Building Materials,
              "Exclusion of Water and Water Vapour", New York: Vantrand Reinhold Company, 1988

        2.    690/g 771 d    Damness Building
        3.    690/f 755 m    Mitchell's Building Construction
        4.    690/i 829 p     Problems in Building Construction
        5.    690/c 559 c    Construction Technology
        6.    690/r 839 l      Light Cladding of Building
        7.    691/s 657 m    Materials of Construction
        8.    691/a 222 b    Building Failures, A Guide to Dianosis, Remedy and Prevention
        9.    691/a 222 m    Matertials for Building
        10.   691/h 949 b    Building Construction
        11.   693.83/-537 i   Insulation of Building
        12.   696/c 874 e    Environmental Systems
        13.   วิดีโอเทป VSH#VC56 ม้วนที่ ๗ ตอนที่ ๒๕ ม้วนที่ ๙ ตอนที่ ๓๓, ๓๕, ๓๖ และม้วนที่ ๑๐ ตอนที่ ๓๘, ๓๙, ๔๐

NEXT