MORPH SYN

1. รหัสวิชา2209520 

2. จำนวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต

3. ชื่อวิชาวิทยาหน่วยคำและวากยสัมพันธ์ (Morphology and Syntax)

4. คณะอักษรศาสตร์//ภาควิชาภาษาศาสตร์

5. ภาคการศึกษา ต้น  

6. ปีการศึกษา 2555

7. ชื่อผู้สอน  รศ.ดร.วิโรจน์ อรุณมานะกุล, ดร. ธีราภรณ์ รติธรรมกุล 

8. เงื่อนไขรายวิชา ไม่มี 

9. สถานภาพของวิชา

วิชาบังคับสำหรับหลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาภาษาศาสตร์ และวิชาพื้นฐานไม่นับหน่วยกิตสำหรับหลักสูตรอักษรศาสตรดุษฏีบัณฑิตสาขาวิชาภาษาศาสตร์  

10. ชื่อหลักสูตรภาษาศาสตร์ 

11. วิชาระดับ ปริญญาโท/เอก

12. จำนวนชั่วโมงที่สอน/สัปดาห์3 ชั่วโมง (พุธ 9.00-12.00 น.)

13. เนื้อหารายวิชา

  กระบวนการทางวิทยาหน่วยคำ การสร้างคำ ประเภททางไวยากรณ์ ความสัมพันธ์ทางวากยสัมพันธ์ การวิเคราะห์ข้อมูลภาษาตามหลักวิทยาหน่วยคำและวากยสัมพันธ์

14. ประมวลการเรียนรายวิชา 

14.1 วัตถุประสงค์ทั่วไปและ/หรือวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม

1. นิสิตสามารถอธิบายมโนทัศน์พื้นฐานทางวิทยาหน่วยคำและวากยสัมพันธ์ได้

2. นิสิตสามารถวิเคราะห์ข้อมูลภาษาในระดับวิทยาหน่วยคำและวากยสัมพันธ์ได้ในระดับพื้นฐาน

3. นิสิตสามารถอธิบายความแตกต่างทางวิทยาหน่วยคำและวากยสัมพันธ์ที่สำคัญระหว่างภาษาต่างๆ ได้

14.2 เนื้อหารายวิชาต่อสัปดาห์

6 มิถุนายน 2555 Introduction to morphology and syntaxม Basic concepts in morphology (pdf

13 มิถุนายน 2555 Identifying morphemes and allomorphs (pdf)

20 มิถุนายน 2555 Derivation and Infection (pdf)

27 มิถุนายน 2555 Derivation and Infection (pdf)

4 กรกฎาคม 2555 Word formation (pdf)

11 กรกฎาคม 2555 Word formation (pdf)

25 กรกฎาคม 2555 สอบกลางภาค

1 สิงหาคม 2555 The study of syntax (pdf)

8 สิงหาคม 2555 Word classes (pdf)

15 สิงหาคม 2555 Sentences (pdf)

22 สิงหาคม 2555 Head words and phrases (pdf

29 สิงหาคม 2555 Constituents (ppt

5 กันยายน 2555 Internal relationships (pdf)

12 กันยายน 2555 Syntactic constructions (pdf)

19 กันยายน 2555 Syntactic constructions (pdf)

26 กันยายน 2555 สอบปลายภาค

14.3 วิธีจัดการเรียนการสอน 

การบรรยาย ร้อยละ 50

การบรรยายเชิงอภิปราย ร้อยละ 25

การระดมสมอง และการอภิปรายกรณีศึกษา ร้อยละ 25

14.4 สื่อการสอน

สื่อนำเสนอในรูปแบบ Powerpoint

เอกสารสรุปเนื้อหาการบรรยาย

ตำราและบทความ

14.5 การมอบหมายงาน ผ่านระบบเครือข่าย 

14.5.1 ข้อกำหนดวิธีการมอบหมายงาน และส่งงาน

14.5.2 ระบบจัดการการเรียนรู้ที่ใช้ 

14.6 การวัดผลการเรียน 

14.6.1 การประเมินความรู้ทางวิชาการ

สอบกลางภาค ร้อยละ 40

สอบปลายภาค ร้อยละ 40

14.6.2 การประเมินผลงานที่ได้มอบหมาย ร้อยละ 20

***  การลักลอกงานวิชาการ (plagiarism) ถือเป็นความผิดร้ายแรงทางวิชาการ  หากพบว่ามีการลักลอกงานวิชาการในงานที่ต้องนำส่งในรายวิชานี้  นิสิตจะถูกปรับตกเป็น  F ในวิชานี้ทันที [คู่มือเรื่อง plagiarism ของบัณฑิตวิทยาลัย] ***

15. รายชื่อหนังสืออ่านประกอบ 

15.1 หนังสือบังคับ

Tallerman, M. (1998). Understanding Syntax. London: Hodder Arnold.  

15.2 หนังสืออ่านเพิ่มเติม 

Aronoff, M. & Fudeman, K. (2005).  What is Morphology? MA: Blackwell Publishing.

Booij, G. (2007). The Grammar of Words. 2nd Ed. Oxford: Oxford University Press.

Elson, B. F. & Pickett, V. B. (1988). Beginning Morphology and Syntax. USA: Summer Institute of Linguistics. 

Givon, T. (2001). Syntax Volume I. PA: John Benjamins.

Givon, T. (2001). Syntax Volume II. PA: John Benjamins.

Haspelmath, M. (2002). Understanding Morphology. London: Hodder Arnold.

Payne, T. E. (1997). Describing Morphosyntax. Cambridge: Cambridge University Press. 

15.3 บทความวิจัย/บทความวิชาการ

กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา. (2541). เหตุใดจึงไม่ควรบัญญัต์ศัพท์ morpheme ว่า “หน่วยคำ”. วารสารอักษรศาสตร์, ปีที่ 27 ฉบับที่ 1, 25-43. 

กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา. (2549). หน่วยสร้างกริยาเรียงต้นแบบในภาษาไทย.  ใน อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (บรรณาธิการ). หน่วยสร้างที่มีข้อขัดแย้งในไวยากรณ์ไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้า 66-173.

Bauer, L. (2008). Exocentric compounds. Morphology, 18, 51-74. 

Du Bois, J. W. (1987). The discourse basis of ergativity. Language, 63, 805-855. 

Post, M. (2008). Adjectives in Thai: Implications for a functionalist typology of word classes. Linguistic Typology, 12, 339-381. 

Prasithrathsint, A. (1988). Change in the passive constructions in Standard Thai from 1802 to 1982. Language Sciences, 10, 363-393. 

Prasithrathsint, A. (2000). Adjectives as verbs in Thai. Linguistic Typology, 4, 251-271.

Regier, T. (1998). Reduplication and the arbitrariness of the sign. In Gernsbacher, M. & Derry, S. (Eds.), Proceedings of the 20th Annual Conference of the Cognitive Science Society. NJ: Lawrence Erlbaum Associates, pp. 887-892.

และบทความอื่นๆ ตามที่ตกลงร่วมกันในชั้นเรียน


Reading List

สัปดาห์ที่ 1

Introduction 

Basic concepts in morphology

เอกสารหมายเลข 1 Understanding Morphology, Chapter 1 Introduction, and Chapter 2 Basic concepts. 

เอกสารหมายเลข 2 What is Morphology?, Chapter 2 Words and lexemes. 

สัปดาห์ที่ 2

Identifying morphemes and allomorphs

เอกสารหมายเลข 3 กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา. (2541). เหตุใดจึงไม่ควรบัญญัต์ศัพท์ morpheme ว่า “หน่วยคำ”. วารสารอักษรศาสตร์, ปีที่ 27 ฉบับที่ 1, 25-43. 

เอกสารหมายเลข 4 Beginning Morphology and Syntax, Chapter 4 Allomorphs, and Chapter 5 Phonological alternation. 

สัปดาห์ที่ 3

Derivation and Infection

เอกสารหมายเลข 5 The Grammar of Words, Chapter 3 Derivation. 

เอกสารหมายเลข 6 Understanding Morphology, Chapter 4 Inflection and derivation. 

สัปดาห์ที่ 4

Derivation and Inflection

เอกสารหมายเลข 7 The Grammar of Words, Chapter 5 Inflection, and Chapter 6 Inflectional systems. 

สัปดาห์ที่ 5

Word formation

เอกสารหมายเลข 8 The Grammar of Words, Chapter 4 Compounding. 

เอกสารหมายเลข 9 Bauer, L. (2008). Exocentric compounds. Morphology, 18, 51-74. 

สัปดาห์ที่ 6

Word formation

เอกสารหมายเลข 10 Understanding Morphology, Chapter 6 Productivity. 

เอกสารหมายเลข 11 What is Morphology?, Chapter 8 Morphological productivity. 

เอกสารหมายเลข 12 Regier, T. (1998). Reduplication and the arbitrariness of the sign. In Gernsbacher, M. & Derry, S. (Eds.), Proceedings of the 20th Annual Conference of the Cognitive Science Society. NJ: Lawrence Erlbaum Associates, pp. 887-892. 

สัปดาห์ที่ 8

The study of syntax

เอกสารหมายเลข 1 Syntax, Chapter 1 The functional approach to language and the typological approach to grammar.

สัปดาห์ที่ 9

Word classes

เอกสารหมายเลข 2 Describing Morphosyntax, Chapter 3 Grammatical categories.

เอกสารหมายเลข 3 Post, M. (2008). Adjectives in Thai: Implications for a functionalist typology of word classes. Linguistic Typology, 12, 339-381.

เอกสารหมายเลข 4 Prasithrathsint, A. (2000). Adjectives as verbs in Thai. Linguistic Typology, 4, 251-271.

สัปดาห์ที่ 10

Sentences 

เอกสารหมายเลข 5 กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา. (2549). หน่วยสร้างกริยาเรียงต้นแบบในภาษาไทย.  ใน อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (บรรณาธิการ). หน่วยสร้างที่มีข้อขัดแย้งในไวยากรณ์ไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้า 66-173. 

สัปดาห์ที่ 11

Head words and phrases

เอกสารหมายเลข 6 Syntax, Chapter 11 Noun phrases. 

สัปดาห์ที่ 12

Constituents

เอกสารหมายเลข 7 Syntax, Chapter 3 Simple verbal clauses and argument structure.

สัปดาห์ที่ 13

Internal relationships

เอกสารหมายเลข 8 Syntax, Chapter 4 Grammatical relations and case-marking systems. 

สัปดาห์ที่ 14

Syntactic constructions

เอกสารหมายเลข 9 อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2549). หน่วยสร้างกริยากรรมวาจก.  ใน อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (บรรณาธิการ). หน่วยสร้างที่มีข้อขัดแย้งในไวยากรณ์ไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้า 174-273.

สัปดาห์ที่ 15

Syntactic constructions

เอกสารหมายเลข 10 Basic Linguistic Theory, Chapter 17 Relative clause constructions


© Wirote 2012