Supervised Theses

2564 (2021)

  • Zhaoyi Pan :  A Learner Corpus-Based Study on the Use of Spoken Discourse Markers by Thai EFL Learners (Dissertation)
2560 (2017)

  • นายศุภวัจน์ แต่รุ่งเรือง :  การตรวจเทียบภายนอกหาการลักลอกในงานวิชาการโดยใช้แบบจาลองซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีนและ การวัดค่าความละม้ายของข้อความ (Dissertation)
  • นางสาวภัทณิดา โสดาบัน : การศึกษาลักษณ์ทางภาษาและรูปแบบของคำให้การจริงและคำให้การเท็จในภาษาไทย (Dissertation)
  • นายอิสรภาพ ล้อรัตนไชยยงค์ : การสร้างคลังศัพท์บอกความรู้สึกในภาษาไทยจากบทวิจารณ์ออนไลน์ (Thesis)

2559 (2016)

  • วีรชัย อำพรไพบูลย์ : การพัฒนาระบบการถ่ายถอดอักษรสำหรับตัวบทเบรลล์ไทยปนอังกฤษเป็นอักษรไทยและอังกฤษปกติโดยใช้วิธีการแบบผสม  (Dissertation)
  • นัชชา ถิระสาโรช :  การศึกษาการแยกความหมายของคำหลายความหมายในภาษาไทยโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ความหมาย แอบแฝง (Dissertation)
  • ธารทอง แจ่มไพบูลย์ : พัฒนาการของคาศัพท์ที่มีความถี่ในการปรากฏสูงในหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย: การศึกษาตามแนวทางภาษาศาสตร์คลังข้อมูล (Dissertation)  [คลังข้อมูลหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย]
  • พลวัฒน์ ไหลมนู : การตรวจแก้การสะกดผิดแบบเป็นคำจริงในภาษาไทยโดยใช้แบบจำลองไตรแกรม (Thesis)

2557 (2014)

  • Nicha Klinkajorn : Strategies for Translating the Speech Acts of  Directives, Rejections, and Inquiries in English Dialogues into Thai (Dissertation)

2556 (2013)

  • นลินี อินต๊ะซาว : การแยกอนุพากย์ภาษาไทยด้วยการใช้แบบจาลองซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน (Thesis)
  • ศิวพร ทวนไธสง : การตรวจเทียบภายในหาการลักลอกงานวิชาการภาษาไทยโดยใช้แบบจำลองซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน (Thesis)
  • Saranya Pathanasin : Anaphora and Translation Discrepancies From English To Thai: A Centering Theory Analysis (Dissertation)

2553 (2010)

  • นัชชา ถิระสาโรช : การรู้จำชื่อเฉพาะภาษาไทย: การใช้แบบจำลองคอนดิชันนอลแรนดอมฟิลด์ส (Thesis) (Data)
  • ศศิวิมล กาลันสีมา: การรู้จำชื่อเฉพาะภาษาไทย: การศึกษาชื่อบุคคล สถานที่ และองค์กร (Thesis) (Data)
  • ณัฐดาพร เลิศชีวะ : การรู้จำชื่อเฉพาะภาษาไทย: การศึกษาชื่อผลิตภัณฑ์ในข่าวเศรษฐกิจ  (Thesis) (Data)
  • เพ็ญนภา คล้ายสิงห์โต : อุดมการณ์ทางเพศสภาพในพาดหัวข่าวอาชญากรรมไทย: การวิเคราะห์วาทกรรมเชิงวิพากษ์. (Dissertation)
  • อธิจิตรา วงษ์สวรรค์  ประมวลศัพท์เกี่ยวกับอุตุนิยมวิทยาการบิน (SR)

2552 (2009)

  • Paneeta Nitayaphorn : A Reference Grammar of Radiotelephony in Air-Ground Communication. (Dissertation)

2551 (2008)

  • ธนนท์ หลีน้อย: การสร้างเครือข่ายคำไทยของมโนทัศน์พื้นฐานร่วมของเอนทิตีลำดับที่หนึ่งด้วยวิธีการแปลสองทาง และการใช้พจนานุกรมที่สร้างด้วยวิธีการแตกต่างกัน. (Thesis) (Data)
  • ปริศนา อัครพุทธิพร: การสร้างเครือข่ายคำไทยของมโนทัศน์พื้นฐานร่วมของเอนทิตีลำดับที่สองด้วยวิธีการแปลสองทาง  : การศึกษาปัจจัยความหลากหลายของความหมายที่มีต่อความถูกต้องของการแปล (Thesis) (Data)
  • จัตุรภุช นิลัมภาชาต: ประมวลศัพท์เรื่องรูปแบบเอกสารโอเพ่นเอ็กซ์เอ็มแอล (SR)

2550 (2007)

  • วิชาติ บูรณะประเสริฐสุข : ระบบความหมายของคำในภาษาไทยของผู้พิการด้านการมองเห็นและผู้พิการด้านการได้ยิน (Dissertation)
  • กิตติวรรณ ซิมตระการ : ประมวลศัพท์เรื่องการจัดการความปลอดภัยของข้อมูล (SR)
  • วาฑิต เอื้อมอิสระโยธิน : ประมวลศัพท์กฎหมายว่าด้วยการสิ้นสุดแห่งการสมรส (SR)
  • พุทธสิริ ลักษณะ : ประมวลศัพท์เรื่องวัตถุพยานจากที่เกิดเหตุคดีอาญา (SR)
  • ชุติมา เตชะพิรุฬห์  : ประมวลศัพท์เรื่องเครื่องหมายการค้า  (SR)

2549 (2006)

  • ธเนศ เรืองรจิตปกรณ์  : การแปลภาษาด?วยเครื่องแบบอิงตัวอย่าง : กรณีศึกษาการแปลรายงานข่าวตลาดหุ้นจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ  (Thesis)

2548 (2005)

  • Pisamai Supatranont: A Comparison of the Effects of the Concordance-Based and the Conventional Teaching Methods on Engineering Students' English Vocabulary Learning. [Dissertation]
  • อัครพล  เอกวงศ์อนันต์ : การระบุคำไทยและคำทับศัพท์ด้วยแบบจำลองเอ็นแกรม [Thesis]
  • สุฤดี ฉัตรไตรมงคล : การรู้จำและการจำแนกประเภทของชื่อเฉพาะภาษาไทย [Thesis]

2547 (2004)

  • วัลย์วรา ไชยฤกษ์ : การพัฒนาโปรแกรมการถอดอักษรภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยโดยใช้คลังคำทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถาน [Thesis] [Data]

2546 (2003)

  • ศิริพร ปัญญาเมธีกุล : ความต่อเนื่องของปฏิสัมพันธ์ในห้องสนทนาไทยการส่งผลต่อกันระหว่างการเชื่อมโยงความ การมอบผลัด และความเกี่ยวข้องของเรื่องที่สนทนา [Dissertation]
  • อมรทิพย์ กวินปณิธาน : การศึกษาบริบทบ่งบอกชื่อเฉพาะในภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ [Thesis]
  • ยุทธชัย วิธีกล : การใช้คลังข้อมูลภาษากฎหมายไทยในการแปลเอกสารกฎหมายจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย [SR]
  • พัชรินทร์ เจียรกมลชื่น : ประมวลศัพท์เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตไร้สายระบบแว็พ [SR]
  • ขวัญชนิตร สุทธิสารสุนทร : กระบวนการทํ าประมวลศัพท์หมวดพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ [Thesis]
  • พิมพินี อินทราชัย : ประมวลศัพท์เรื่องเทคโนโลยีการโคลนนิ่ง [SR]
  • ศุลีพร  สุทธิเมธากร : ประมวลศัพท์เรื่องข้อกำหนดและคำแนะนำเพื่อการใช้งาน  ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานไอเอสโอ 14001 [SR]
  • วิวรรณ วงศ์ทองศรี :  ประมวลศัพท์เรื่องการตรวจซ่อมใบจักรเรือเดินทะเล [SR]
  • หทัยทิพย์ วงศ์กิติกำจร : ประมวลศัพท์เรื่องการสร้างแบบหรือวัตถุในงานคอมพิวเตอร์กราฟิกสามมิติ [SR]

2545 (2002)

  • Sittikoon Chuenchomrat : Basic Terminology of Intellectual Property [SR]

2544 (2001)

  • Wipharuk Kanolrattananukul : Word Sense Disambiguation in Thai Using Decision List Collocation. [Thesis]
  • นัฐวุฒิ ไชยเจริญ : การตัดคำและการกำกับหมวดคำภาษาไทยแบบเบ็ดเสร็จด้วยคอมพิวเตอร์ [Thesis]
  • พลอยแสง เอกญาติ : กระบวนการทำประมวลศัพท์เรื่องการเติมน้ำลงชั้นน้ำบาดาล [Thesis]
  • รัตนา เอื้อวิทยา : ประมวลศัพท์เรื่องการบำบัดน้ำเสียชุมชน [SR]

หลักปฏิบัติในการทำวิทยานิพนธ์ / สารนิพนธ์

  1. นิสิตควรปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษาในกรณีที่มีข้อสงสัยในการวิเคราะห์  ก่อนที่จะลงมือทำการวิเคราะห์ทั้งหมด  เพื่อหลีกเลี่ยงการที่จะต้องรื้อการวิเคราะห์ใหม่ทั้งหมด
  2. นิสิตควรได้รับงานคืนจากอาจารย์ที่ปรึกษาภายใน 1 อาทิตย์ถึง 1 เดือน  ขึ้นอยู่กับภาระงานของอาจารย์ในขณะนั้น  อย่างไรก็ตาม  หากนิสิตไม่ได้รับงานคืนภายใน 2 อาทิตย์  นิสิตต้องย้ำเตือนอาจารย์ที่ปรึกษาอีกครั้ง  เพื่อป้องกันกรณีที่อาจารย์ที่ปรึกษายุ่งจนลืมอ่านงานนั้น
  3. โดยปกติ  วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์จะผ่านการตรวจแก้ไขจากอาจารย์ที่ปรึกษาไม่น้อยกว่า 3-4 ครั้ง
  4. นิสิตควรส่งร่างวิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์ฉบับแรกให้อาจารย์ที่ปรึกษาอย่างน้อย 1 เดือน ก่อนกำหนดวันสุดท้ายเพื่อให้มีเวลาเพียงพอสำหรับแก้ไขเนื้อหา
  5. วันสุดท้ายในการส่งสารนิพนธ์ให้อาจารย์ที่ปรึกษา หมายถึง วันที่นิสิตส่งงานฉบับสุดท้ายซึ่งได้ผ่านการตรวจแก้ไขจากอาจารย์ที่ปรึกษาจนเสร็จสมบูรณ์แล้วโดยมีใบเซ็นรับรองจากอาจารย์ที่ปรึกษา   หลังจากนั้น จึงจะส่งให้ผู้อ่านพิจารณาให้ความเห็นว่าผ่านหรือไม่ผ่านพร้อมทั้งข้อเสนอแนะเพิ่มเติม  ซึ่งนิสิตจะต้องนำมาพิจารณาเพื่อปรับปรุงแก้ไขในขั้นตอนสุดท้าย
  6. นิสิตจะต้องส่งวิทยานิพนธ์ฉบับพร้อมสอบ(ซึ่งได้ผ่านการตรวจแก้ไขจากอาจารย์ที่ปรึกษาจนเสร็จสมบูรณ์แล้ว)อย่างน้อย 2 สัปดาห์ก่อนการสอบวิทยานิพนธ์
  7. กำหนดการต่างๆ ที่เป็นประกาศของคณะอักษรศาสตร์  ทางภาควิชา/ศูนย์ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงให้กับนิสิตคนใดคนหนึ่งเป็นการเฉพาะได้
  8. การเป็นภาคการศึกษาสุดท้ายของนิสิต การใกล้ถึงกำหนดส่งวิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์  ไม่ใช่เหตุผลเพียงพอที่อาจารย์ที่ปรึกษาจะผ่านงานชิ้นนั้น  งานจะผ่านได้ก็ต่อเมื่องานชิ้นนั้นเสร็จสมบูรณ์ในตัวเอง

การสร้างไฟล์ PDF

นิสิตสามารถใช้ Free software  อย่าง CutePDF  หรือ  GhostWord สำหรับพิมพ์งานเป็นไฟล์ pdf  จากโปรแกรม Word ได้ทันที   https://pypi.python.org/pypi?name=tltk&version=0.4.0&:action=display

© Wirote 2012